Peaceful Uplifting Monasteries
There is another kind of dåna, generosity, and this is abhayadåna, the giving of freedom from danger and fear.
In the Sutta, the Buddha taught the five great gifts and their rewards. He said, “Herein, monks, a noble disciple gives up the taking of life and abstains from it. By abstaining from the taking of life, the noble disciple gives to immeasurable beings freedom from fear, gives to them freedom from hostility, and freedom from oppression. By giving to immeasurable beings freedom from fear, hostility and oppression, he himself will enjoy immeasurable freedom from fear, hostility and oppression...” The same is said about the abstaining from stealing, sexual misconduct, wrong speech and intoxicants..
Abstaining from deeds that harm others as well as giving protection from danger is included in giving freedom from fear, abhayadåna. The gift of freedom from fear is a condition for the perfection of morality, síla påramí, to develop; it is the condition for abstinence from wrong action and speech.
Forgiving can be seen as an aspect of giving freedom from fear as well. When we forgive someone, we do not give in to ill feelings or revenge (through body and or speech). If someone does not know that forgiving is a perfection, parami, he will not forgive someone else who has done him wrong. If we do not forgive others, how can we attain enlightenment and eradicate defilements?
If we consider this, it may be a condition for the gift of freedom from fear. This is a way of generosity higher than the giving of material things, åmisa dåna. If we cannot forgive someone we do not like, it means also that we cannot develop other kinds of kusala with regard to this person. If we do not forgive him or if we are still angry with him, we cannot be generous to him, we cannot even give him material things. Neither can we give him the gift of Dhamma, Dhamma dåna, in helping him with Dhamma discussion, or advise him as to what is beneficial in life and what is not beneficial. If we do not forgive someone else, our conduct will not be that of a friend and thus kusala cannot develop. How could we then cross over to the further shore, namely, the eradication of defilements?
ทาน คือ การให้อันเป็นเจตนาสละสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ทั้งที่เป็นการสละ ที่เป็นวัตถุรูปธรรม และเป็นการสละให้ สิ่งที่เป็นามธรรม มีการให้ปัญญา ความเข้าใจ เป็นต้น ทาน แบ่งเป็น 3 อย่างดังนี้ คือ อามิสทาน อภัยทาน และ ธรรมทาน
อามิสทาน คือ การให้วัตถุ สิ่งของ เพื่อประโยชน์ของผู้อื่นที่รับด้วยเจตนาในการสละ ให้ด้วยจิตที่เป็นกุศล จึงเป็นการสละ สิ่งที่มีอยู่ เป็นวัตถุ ภายนอก
อภัยทาน ภัย คือ สิ่งที่นำมาซึ่งความน่ากลัว อภัย คือ ความไม่มีภัย ความไม่มีความน่ากลัว ไม่นำมาซึ่งสิ่งไม่ดี ดังนั้น อภัยทาน จึงเป็นการให้ความไม่มีภัย คือ ให้ความไม่น่ากลัว ให้ความไม่มีโทษ ดังนั้น อภัยทาน จึงเป็นการให้ที่ไม่ใช่วัตถุสิ่งของ แต่ เป็นการให้ที่เกิดจากกุศลจิตของผู้ให้ เมื่อเกิดกุศลจิต ที่จะงดเว้นจากบาปมีการไม่ฆ่า เป็นต้น ขณะนั้น ก็ให้ความไม่มีภัย ให้ความไม่น่ากลัว กับสัตว์อื่น ทำให้สัตว์อื่นปลอดภัยจากการะทำของตนเอง ที่เกิดกุศลจิต กุศลขั้น มีศีล 5 เป็นต้น ที่เป็นการงดเว้นจากการฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม เป็นต้น ก็ชื่อว่า อภัยทาน
อภัยทาน อีกนัยหนึ่ง คือ ความไม่โกรธ ผู้อื่น เมื่อได้รับสิ่งที่กระทบทางตา หู..กาย อันสมมติว่าเป็นการกระทำของผู้อื่น เมื่อไม่โกรธ ก็ให้ความไม่มีภัย กับผู้นั้น เพราะภัย สิ่งที่น่ากลัว มาจากกิเลส หากไม่มีกิเลส ก็จะไม่นำมาซึ่งความน่ากลัว การกระทำที่ไม่ดี ไม่ได้เลย ครับ เมื่อไม่โกรธ ก็ให้อภัย คือ ไม่มีภัย กับผู้อื่นในขณะนั้น เพราะไม่มีการกระทำทางกายที่ไม่ดี ไม่มีการกระทำทางวาจาที่ไม่ดี อันมีเหตุมาจากความโกรธที่เป็นภัย อภัยทาน จึงสูงกว่า อามิสทาน เพราะ อภัยทาน เป็นการให้ ที่สละยากกว่า เพราะ เกิดจากกุศลจิตขั้นศีล ที่งดเว้นจากบาป ไม่ใช่ เป็นการสละวัตถุภายนอก ที่เป็นรูปธรรม อันเป็นอามิสทาน ครับ
อ. ผเดิม
photo courtesy of Gavesako Bhikkhu
No comments:
Post a Comment