Peaceful Uplifting Monasteries
We would like to have kusala citta more often but akusala cittas are bound to arise so long as the latent tendencies to akusala have not been eradicated. The eradication of defilements is the goal of the Buddha's teachings and this can be realized through the development of insight. Right understanding should be developed together with all other good qualities. Good deeds can be classified as generosity (dana), morality (sila) and mental development (bhavana). The Atthasalini (I, Book I, Part N, Chapter VIII, 157) gives, with regard to kusala cittas of the sense-sphere, maha-kusala-cittas, a tenfold classification of good deeds, namely as the "ten bases of meritorious deeds" (Punna-kiriya-vatthus) as follows:
1) charity or generosity
2) virtue or morality
3) culture or mental development
4) respect
5) dutifulness or helpfulness
6) sharing one's merit
7) thanksgiving or appreciation of someone else's good deeds
8) teaching Dhamma
9) listening to Dhamma
10) rectification of opinion (common of one's views)
2) virtue or morality
3) culture or mental development
4) respect
5) dutifulness or helpfulness
6) sharing one's merit
7) thanksgiving or appreciation of someone else's good deeds
8) teaching Dhamma
9) listening to Dhamma
10) rectification of opinion (common of one's views)
(The tenth "base of meritorious deeds" which is "rectification of view" is the most important base because it conditions other meritorious deeds to grow.) We correct our views by developing right understanding of realities. The Buddha, when he was still a Bodhisatta, developed right understanding together with all other kinds of wholesomeness, he developed the wholesome qualities which are the "perfections" (paramis) during innumerable lives so that in his last life he could attain Buddhahood. This reminds us not to neglect the development of any kind of kusala for which there is an opportunity.
Nina VanGorkom
บุญกิริยาวัตถุ 10
บุญ เป็นสภาพธรรมที่ชำระจิตให้สะอาด (เพราะโดยปกติแล้วจิตสกปรกด้วยอำนาจของอกุศลธรรม) ขณะที่เป็นบุญ ขณะนั้นจิตสะอาดจากอกุศล คือโลภะ โทสะ และโมหะบุญ หรือ สภาพจิตที่ดี ที่เป็นกุศล มีหลายประการ ตามระดับและลักษณะของบุญ
บุญกิริยาวัตถุ 10 หมายถึง ที่ตั้งแห่งการกระทำความดี ๑๐ อย่าง หมายถึง กุศลจิตที่มีกำลังจนทำให้มีการกระทำออกมาทางกาย วาจาหรือทางใจ ได้แก่ ...
๑.ทานมัย บุญสำเร็จจากการให้วัตถุเพื่อสงเคราะห์หรือบูชาแก่ผู้อื่น
๒.ศีลมัย บุญสำเร็จจากการงดเว้นจากทุจริต หรือประพฤติสุจริตทางกาย วาจา
๓.ภาวนามัย บุญสำเร็จจากการอบรมจิตให้สงบจากกิเลส (สมถภาวนา) และการอบรมปัญญาเพื่อละกิเลสทั้งปวง(วิปัสสนาภาวนา)
๔.อปจายนมัย บุญสำเร็จจากการประพฤติอ่อนน้อมถ่อมตน
๕.เวยยาวัจจมัย บุญสำเร็จจากการขวนขวายบำเพ็ญประโยชน์ต่อผู้อื่น
๖.ปัตติทานมัย บุญสำเร็จจากการให้ส่วนบุญที่ได้บำเพ็ญมาแล้ว
๗.ปัตตานุโมทนามัย บุญสำเร็จจากการยินดีในกุศลที่ผู้อื่นได้กระทำแล้ว
๘.ธัมมัสสวนมัย บุญสำเร็จจากการฟังพระสัทธรรม
๙.ธัมมเทสนามัย บุญสำเร็จจากการแสดงพระสัทธรรม
๑๐.ทิฏฐุชุกรรม การกระทำความเห็นให้ตรงถูกต้องตามความเป็นจริง
๒.ศีลมัย บุญสำเร็จจากการงดเว้นจากทุจริต หรือประพฤติสุจริตทางกาย วาจา
๓.ภาวนามัย บุญสำเร็จจากการอบรมจิตให้สงบจากกิเลส (สมถภาวนา) และการอบรมปัญญาเพื่อละกิเลสทั้งปวง(วิปัสสนาภาวนา)
๔.อปจายนมัย บุญสำเร็จจากการประพฤติอ่อนน้อมถ่อมตน
๕.เวยยาวัจจมัย บุญสำเร็จจากการขวนขวายบำเพ็ญประโยชน์ต่อผู้อื่น
๖.ปัตติทานมัย บุญสำเร็จจากการให้ส่วนบุญที่ได้บำเพ็ญมาแล้ว
๗.ปัตตานุโมทนามัย บุญสำเร็จจากการยินดีในกุศลที่ผู้อื่นได้กระทำแล้ว
๘.ธัมมัสสวนมัย บุญสำเร็จจากการฟังพระสัทธรรม
๙.ธัมมเทสนามัย บุญสำเร็จจากการแสดงพระสัทธรรม
๑๐.ทิฏฐุชุกรรม การกระทำความเห็นให้ตรงถูกต้องตามความเป็นจริง
สำหรับเรื่องข้อปฏิบัติในการเจริญบุญกิริยาวัตถุ 10 ประการนั้น พื้นฐานต้องเริ่มจากความเห็นถูกขั้นการฟังให้เข้าใจถูกต้อง ก็จะทำให้เกิดกุศลหรือบุญประการต่างๆใน 10 ประการ เพราะฉะนั้นทิฏฐุชุกรรม คือ การทำความเห็นให้ตรง คือ ทำปัญญาให้เกิดขึ้นจากที่เคยเห็นผิดก็เห็นถูกและจากที่มีความเห็นถูกก็มีความเห็นถูกมากขึ้น หรือ มีปัญญาเพิ่มขึ้น เมื่อปัญญาเจริญขึ้น ความเห็นตรงตามความเป็นจริงก็จะพิจารณาด้วยปัญญาและทำให้บุญประการต่างๆเจริญขึ้น เพราะฉะนั้นก็ต้องอาศัยการฟังพระธรรม ศึกษาพระธรรมเพื่อให้ความเห็นตรงขึ้น ปัญญาเจริญขึ้นนั่นเองครับ
อ. ผเดิม
No comments:
Post a Comment