Tuesday, November 1, 2016

A training rule for the bhikkhus with ten aims

Vinaya: for the well beings of the community and of an individual monastic
Buddha: “‘Bhikkhus, I will formulate a training rule for the bhikkhus with ten aims in mind: the excellence of the Community, the comfort of the Community, the curbing of the impudent, the comfort of well- behaved bhikkhus, the restraint of effluents related to the present life, the prevention of effluents related to the next life, the arousing of faith in the faithless, the increase of the faithful, the establishment of the true Dhamma, and the fostering of discipline.’”
These reasons fall into three main types. The first two are external: 1) to ensure peace and well being within the Community itself, and 2) to foster and protect faith among the laity, on whom the bhikkhus depend for their support. (The origin stories of the various rules depict the laity as being very quick to generalize. One bhikkhu misbehaves, and they complain, “How can these Sakyan-son monks do that?”) The third type of reason, though, is internal: The rule is to help restrain and prevent mental effluents within the individual bhikkhus.
Thus the rules aim not only at the external well being of the Community but also at the internal well being of the individual. This latter point soon becomes apparent to anyone who seriously tries to keep to the rules, for they foster mindfulness and circumspection in one’s actions, qualities that carry over into the training of the mind.
Bhikkhu Thanissaro-The abbot of Metta Forest Monastery, California
ข้อวัตรปฏิบัติ
ข้อวัตรปฏิบัติ กฎกติกาที่ตั้งไว้ คือทางแห่งมรรคผลนิพพาน
ถ้าใครไปฝ่าฝืนข้อกติกานั้นแล้ว ก็ไม่ใช่พระ
ไม่ใช่คนที่ตั้งใจมาปฏิบัติ
เขาจะไม่ได้พบเห็นอะไรเลย
ถึงแม้จะอยู่กับผมทุกคืนทุกวันก็ไม่เห็นผม
จะอยู่กับพระพุทธเจ้าก็ไม่ได้เห็นพระพุทธเจ้า...
- หลวงปู่ชา
เหตุผลที่พระพุทธองค์ทรงปรารภในการบัญญัติสิกขาบทแก่สงฆ์มี ๑๐ ประการ
๑. เพื่อความเรียบร้อยดีงามแห่งสงฆ์
๒. เพื่อความผาสุกแห่งสงฆ์
๓. เพื่อกำราบคนหน้าด้านไม่รู้จักอาย
๔. เพื่อความอยู่ผาสุกแห่งเหล่าภิกษุผู้มีศีลดีงาม
๕. เพื่อปิดกั้นความเสื่อมเสีย ความทุกข์ ความเดือดร้อน ที่จะมีในปัจจุบัน
๖. เพื่อบำบัดความเสื่อมเสีย ความทุกข์ ความเดือดร้อน ที่จะมีในภายหลัง
๗. เพื่อความเลื่อมใสของคนที่ยังไม่เลื่อมใส
๘. เพื่อความเลื่อมใสยิ่งขึ้นของคนที่เลื่อมใสแล้ว
๙. เพื่อความดำรงมั่นแห่งสัทธรรม
๑๐. เพื่อส่งเสริมความเป็นระเบียบเรียบร้อย สนับสนุนวินัยให้หนักแน่น
พระวินัยจึงมีอานิสงส์ทั้งในแง่ของการปฏิบัติธรรมส่วนตัวของพระและในแง่ส่วนรวมของสงฆ์
http://www.ubu.ac.th/wat/index.php?page=kowatsong

No comments:

Post a Comment